มหาวิทยาลัยขอนแก่น
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประวัติ
มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นอุดมศึกษาสถานแห่งแรก ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือแม้กำเนิดของมหาวิทยาลัยจะมีแนวความคิดย้อนหลังไปได้ถึงก่อน สงครามโลกครั้งที่สอง แต่การเตรียมการก่อสร้างอย่างจริงจัง กระทำกันในรัฐบาล ฯพณฯ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ในขณะที่เริ่ม พัฒนาภูมิภาคส่วนนี้ของประเทศ เมื่อพุทธศักราช 2505 การลงมือก่อสร้างเริ่มขึ้นในปี 2507 โดยมีมติจัดตั้งสถาบันการศึกษาชั้นสูง
ด้านวิศวกรรมศาสตร์และเกษตรศาสตร์ขึ้นที่บ้านสีฐาน จังหวัดขอนแก่น และเสนอชื่อสถาบันนี้ว่า มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า Khon Kaen Institute of Technology
มีชื่อย่อ K.I.T. โดยมีสภาการศึกษาแห่งชาติเป็นผู้รับผิดชอบ ต่อมาในปีพุทธศักราช 2508 คณะรัฐมนตรีมีมติให้เปลี่ยนชื่อ เป็นมหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ตราพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อ วันที่ 25 มกราคม 2509 ซึ่งถือเป็นวันสถาปนาของมหาวิทยาลัย โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินประกอบพิธีเปิดมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พุทธศักราช 2510
ตราประจำมหาวิทยาลัย
ตราสัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัย
เป็นรูปเทพยดากระหนาบองค์พระธาตุพนมอัญเชิญมิ่งมงคลประทานแก่สถาบัน สถิตเหนือขอนไม้ ซึ่งสลักเป็นชื่อมหาวิทยาลัย พื้นหลังแบ่งเป็น 3 ช่อง มีความหมายถึง คุณธรรมของนักศึกษา 3 ประการ ได้แก่ วิทยา คือ ความรู้ดี จริยา คือ ความประพฤติดี ปัญญา คือความฉลาด เกิดแต่การเรียนดี และคิดดี
ดอกไม้ประจำมหาวิทยาลัยขอนแก่น คือ ดอกกัลปพฤกษ์
ดอกไม้ประจำมหาวิทยาลัย
เป็นต้นไม้ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงปลูกพระราชทาน เมื่อครั้งเสด็จพระราชดำเนิน ประกอบพิธีเปิดมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พุทธศักราช 2510 ต้นกัลปพฤกษ์เป็นต้นไม้ที่มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ ว่า Cassia bakeriana Craib ลักษณะเป็นต้นไม้ขนาดย่อม พุ่มใบแบนกว้าง ดอกสีชมพู เมื่อโรยจะกลายเป็นสีขาว ออกดอกเป็นช่อช่วงฤดูหนาว
คณะทันตแพทยศาสตร์
สาขาวิชา
ภาควิชาชีววิทยาช่องปาก
ภาควิชาทันตกรรมจัดฟัน
ภาควิชาทันตกรรมชุมชน
ภาควิชาทันตกรรมบูรณะ
ภาควิชาทันตกรรมประดิษฐ์
ภาควิชาทันตกรรมสำหรับเด็ก
ภาควิชาปริทันตวิทยา
ภาควิชาวินิจฉัยโรคช่องปาก
ภาควิชาศัลยศาสตร์ช่องปากและกระดูกขากรรไกร
คณะนิติศาสตร์
คณะบริหารธุรกิจ (วิทยาเขตหนองคาย)
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการจัดการ
ระดับปริญญาตรี
หลักสูตรบัญชีบัณฑิต สาขาการบัญชี
หลักสูตรธุรกิจบัณฑิต สาขาการตลาด
หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการเงิน
หลักสูตรเศรษฐศาสตร์บัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์
หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการจัดการ
ระดับปริญญาโท
หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการตลาด
หลักสูตรเศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ
หลักสูตรบัญชีมหาบัณฑิต
หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
ระดับปริญญาเอก
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการนวัตกรรมการท่องเที่ยวและบริการ
หลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิชา
สาขาวิชาการการบัญชี
สาขาวิชาการจัดการ
สาขาวิชาการจัดการโรงแรม
สาขาวิชาการตลาด
สาขาวิชาการท่องเที่ยว
สาขาวิชาการเงิน
สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์
คณะวิทยาศาสตร์
สาขาวิชา
ภาควิชาคณิตศาสตร์
ภาควิชาจุลชีววิทยา
ภาควิชาชีววิทยา
ภาควิชาชีวเคมี
ภาควิชาฟิสิกส์
ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
ภาควิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
ภาควิชาสถิติ
ภาควิชาเคมี
คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์และวิศวกรรมศาสตร์ (วิทยาเขตหนองคาย)
คณะวิศวกรรมศาสตร์
สาขาวิชา
ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร
ภาควิชาวิศวกรรมเคมี
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
ภาควิชาวิศวกรรมโยธา
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
คณะศิลปศาสตร์ (วิทยาเขตหนองคาย)
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
ระดับปริญญาเอก
1.หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์
ระดับปริญญาโท
1.หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์
2.หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอาคาร
3.หลักสูตรการวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวางแผนภาคและเมือง
ระดับปริญญาตรี
1. หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555)
2. หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาการออกแบบอุตสาหกรรม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555)
สาขาวิชา
สาขาวิชาการวางแผนภาคและเมือง
สาขาวิชาการออกแบบอุตสาหกรรม
สาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์
สาขาวิชาเทคโนโลยีอาคาร
คณะสัตวแพทยศาสตร์
คณะสาธารณสุขศาสตร์
สาขาวิชา
ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร์
ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข
ภาควิชาระบาดวิทยา
ภาควิชาวิทยาศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อม
ภาควิชาสุขศึกษา
ภาควิชาโภชนวิทยา
คณะเกษตรศาสตร์
สาขาวิชา
ภาควิชาประมง
ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรการเกษตร
ภาควิชาส่งเสริมการเกษตร
ภาควิชาสัตวศาสตร์
ภาควิชาเศรษฐศาสตร์การเกษตร
คณะเทคโนโลยี
สาขาวิชา
ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ
ภาควิชาเทคโนโลยีธรณี
ภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร
ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิต
คณะเภสัชศาสตร์
ระดับปริญญาตรี หลักสูตร 6 ปี :
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต (ภาคปกติ)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต (โครงการพิเศษผลิตเภสัชกรเพิ่มภาคสมทบ)
หลักสูตรเภสัชศาสตร์บัณฑิต (โครงการพิเศษหลักสูตรนานาชาติ)
ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต :
หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชบำบัด
ระดับปริญญาโท :
หลักสูตรเภสัชศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชกรรมคลินิก
หลักสูตรเภสัชศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชภัณฑ์
หลักสูตรเภสัชศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเภสัชกรรม
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพิษวิทยา
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการคุ้มครองผู้บริโภคและการจัดการด้านสุขภาพ
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชเคมีและผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ความงามและสุขภาพ
ระดับปริญญาเอก :
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยและพัฒนาเภสัชภัณฑ์
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชกรรมและระบบสุขภาพ
คณะเทคนิคการแพทย์
ปริญญาตรี
เทคนิคการแพทย์(ปกติ)
เทคนิคการแพทย์(โครงการพิเศษ)
กายภาพบำบัด
ปริญญาโท
กายภาพบำบัด
กายภาพบำบัด(โครงการพิเศษ)
เทคนิคการแพทย์
วิทยาศาสตร์การแพทย์
พยาธิวิทยาคลินิกและการจัดการ(พิเศษ)
ชีวเวชศาสตร์
ปริญญาเอก
ชีวเวชศาสตร์
วิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหวมนุษย์
การเคลื่อนไหวของมนุษย์(นานาชาติ)
เทคนิคการแพทย์
คณะแพทย์ศาสตร์
สาขาวิชา
1.ฟรีคลินิก
กายวิภาคศาสตร์
จุลชีววิทยา
ชีวเคมี
ปรสิตวิทยา
พยาธิวิทยา
เภสัชวิทยา
เวชศาสตร์ชุมชน
สรีรวิทยา
2.คลินิก
กุมารเวชศาสตร์
จักษุวิทยา
จิตเวชศาสตร์
นิติเวชศาสตร์
รังสีวิทยา
วิสัญญีวิทยา
เวชศาสตร์ฉุกเฉิน
เวชศาสตร์ฟื้นฟู
ศัลยศาสตร์
สูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา
โสต ศอ นาสิกวิทยา
ออร์โธปิดิกส์
อายุรศาสตร์
คณะศึกษาศาสตร์
หลักสูตรปริญญาตรี
ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศิลปศึกษา
ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา
ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาญี่ปุ่น
ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา
ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพลศึกษา
หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรศึกษา
ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา
Bachelor of Education Program in Teaching English to Speakers of Other Languages
ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศ
เอกสารรับรองหลักสตร พ.ศ.2547 จาก กคศ.
หนังสือรับรองหลักสูตร กคศ. ระดับปริญญาตรี หลักสูตร พ.ศ.2552
หนังสือรับรองหลักสูตร กคศ. ระดับปริญญาตรี หลักสูตร พ.ศ.2550
หนังสือรับรองหลักสูตร กคศ. ระดับปริญญาตรี หลักสูตร พ.ศ.2552
ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต :
หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาวิชาชีพครู
ประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู (ปรับปรุง 2552)
หลักสูตรปริญญาโท
ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาสิ่งแวดล้อมศึกษา
ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา
ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ศึกษา
ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน
ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอนพิเศษ
ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา
ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา
ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา
ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษาและการให้คำปรึกษา
โท สาขาวิชา การวัดและประเมินผลการศึกษา (ปป.2554)
โท สาขาวิชา จิตวิทยาการศึกษาและการให้คำปรึกษา (ปป.2555)
โท_สาขาวิชา หลักสูตรและการสอนการศึกษาพิเศษ (ปป.2555)
หลักสูตรโท-เอก ปรับปรุง พ.ศ. 2555 (ใช้ปัจจุบัน)
หนังสือรับรองหลักสูตรจาก กคศ. หลักสูตร ศษ.ม. (การศึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
หลักสูตรปรับปรุง 2556
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น