มอ.

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์





มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ประวัติความเป็นมา
          มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกในภาคใต้ เริ่มก่อตั้งที่ตำบล รูสมิแลอำเภอเมืองจังหวัดปัตตานี เมื่อปี พ.ศ.2509 ในระยะแรกใช้ชื่อว่า"มหาวิทยาลัยภาคใต้" (UNIVERSITY OF SOUTHERN THAILAND)
          ต่อมาในเดือนกันยายน พ.ศ.2510 มหาวิทยาลัยฯได้รับพระราชทาน ชื่อว่า มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (PRINCE OFSONGKLAUNIVERSITY) ตามพระนามฐานันดรศักดิ์สมเด็จพระบรมราชชนกเจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดชกรมหลวง สงขลานครินทร์
          ในวันที่12 มีนาคม 2511 ได้มีพระบรมราชโองการ ประกาศใช้ พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัย จึงกำหนดให้วันที่ 13 มีนาคม ซึ่งเป็นวันที่ พระราชบัญญัตินี้มีผลบังคับใช้ เป็นวันสถาปนามหาวิทยาลัย
          มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้กำหนดเป้าหมาย เพื่อการพัฒนาภาคใต้ ตามแผน พัฒนาการศึกษาอันเป็นพื้นฐานในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม เพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขและเสมอภาคของประชาชนและ เพื่อเป็นแหล่ง บริการ วิชาการชุมชนทั้งในชนบทและในเมือง


ตรามหาวิทยาลัย

ตราสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัย
มหาพิชัยมงกุฎ คือ ศิราภรณ์ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์สำคัญ แสดงว่าทรงเป็นพระมหากษัตริย์
จักรกับตรีศูล คือ ตราเครื่องหมายประจำพระบรมราชวงศ์จักรี
ม.อ. คือ อักษรย่อจากพระนามเดิม สมเด็จพระบรมราชชนก เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช

ดอกไม้ประจำมหาวิทยาลัย
          ดอกศรีตรัง เป็นดอกไม้ประจำมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สีน้ำเงินเป็นสีประจำมหาวิทยาลัย


ดอกไม้ประจำมหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มีทั้งหมด วิทยาเขต ได้แก่
1. วิทยาเขตหาดใหญ่
บัณฑิตวิทยาลัย                                            คณะวิทยาศาสตร์                                       
กายวิภาคศาสตร์ 
คณิตศาสตร์ 
เคมี 
จุลชีววิทยา 
ชีวเคมี
ชีววิทยา 
ฟิสิกส์ 
เภสัชวิทยา
วิทยาศาสตร์ทั่วไป
สรีรวิทยา 
วิทยาการคอมพิวเตอร์ 
วิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ 
เทคโนโลยีชีวภาพและชีวโมเลกุลสารสนเทศ
วัสดุศาสตร์ 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
นิติวิทยาศาสตร์
สาขาวิชาเกษตรศาสตร์
สาขาวิชาสัตวศาสตร์
สาขาวิชาวาริชศาสตร์
สาขาวิชาพืชศาสตร์
สาขาวิชาสัตวศาสตร์
สาขาวิชาพัฒนาการเกษตร
สาขาวิชาการกำจัดศัตรูพืช
สาขาวิชาการกำจัดปฐพีศาสตร์
สาขาวิชาอุตสาหกรรมเกษตร
สาขาวิชาแพทย์ศาสตร์
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์
สาขาวิชากายภาพบำบัด
สาขาวิชาชีวเวชศาสตร์
สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์
เทคนิคการแพทย์
สาขาวิชาดิจิทัลมีเดีย (หลักสูตรนานาชาติ)
สาขาวิชาทันตแพทยศาสตร์
สาขาวิศวกรรมการผลิต
สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
สาขาวิศวกรรมเคมี
สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล
สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ 
สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
สาขาวิชาวิศวกรรมเมคาทรอนิกส์ 
สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา 
สาขาวิชาวิศวกรรมวัสดุ 
สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 
สาขาวิชาวิศวกรรมเหมืองแร่ 
สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ


สาขาวิชาการบริบาลทางเภสัชกรรม
สาขาวิชาเภสัชศาสตร์
สาขาวิชาการตลาด
สาขาวิชาการเงิน 
สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์
สาขาวิชาระบบสารสนเทศ
สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ 
สาขาวิชาบัญชี
สาขาวิชาการจัดการ(ภาษาอังกฤษ) 
สาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร
สาขาวิชาภาษาและภาษาไทยประยุกต์
สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
สาขาวิชาภาษาจีน
สาขาวิชาชุมชนศึกษา
สาขาวิชาภาษาจีน(หลักสูตรนานาชาติ)
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เกษตร
สาขาวิชานิติศาสตร์
สาขาวิชาการแพทย์แผนไทย






2. วิทยาเขตปัตตานี
เอกคณิตศาสตร์
เอกวิทยาศาสตร์ทั่วไป
เอกเคมี
เอกชีววิทยา
เอกฟิสิกส์
เอกเทคโนฯ สารสนเทศและประเมินผลการศึกษา
เอกสุขศึกษา
เอกจิตวิทยา (ปี)
เอกเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา (ปี)
เอกการประถมศึกษา
เอกศิลปศึกษา
เอกภาษาไทย
เอกพลศึกษา
เอกภาษาอังกฤษ
เทคโนโลยียาง
เคมี-ชีววิทยา
เคมีอุตสาหกรรม
เทคโนโลยีการเกษตร(เทคโนโลยีผลิตพืช)
เทคโนโลยีการประมง(การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง)
เทคโนโลยีการประมง(อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ประมง)
เทคโนลียีการประมง (เทคโนโลยีการผลิตสัตว์)
วิทยาศาสตร์การอาหารและโภชนาการ
คณิตศาสตร์ประยุกต์
ฟิสิกส์
วิศวกรรมเคมี (วศ.บ.)
วิทยาศาสตร์นิเทศ
โภชนศาสตร์และการกำหนดอาหาร
วิทยาลัยอิสลามศึกษา
เศรษฐศาสตร์และการจัดการในอิสลาม
อิสลามศึกษา
อิสลามศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ)
การสอนอิสลามศึกษา
กฎหมายอิสลาม
ตะวันออกกลางศึกษา
บธ. การจัดการทรัพยากรมนุษย์และองค์การ
การจัดการสารสนเทศ
เศรษฐศาสตร์ - เศรษฐกิจอาเชี่ยน
เศรษฐศาสตร์ - เศรษฐศาสตร์การพัฒนา
ประวัติศาสตร์
สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
พัฒนาสังคม
ปรัญญาและศาสนา
ภาษาและวรรณคดีไทย
ภาษาจีน (หลักสูตรปกติ)
ภาษาจีน (หลักสูตรนานาชาติ)
ภาษาเกาหลี
ภาษาญี่ปุ่น
ภาษาอังกฤษ
ภาษามลายู
มลายูศึกษา
ภาษาอาหรับและภาษาอาหรับธุรกิจ
ภาษาฝรั่งเศส
ภาษาเยอรมัน
ภูมิศาสตร์ (วท.บ.)
สังคมสงเคราะห์ศาสตร์


นิเทศศาสตร์
เทคโนฯ สารสนเทศ และการสื่อสารเพื่อการจัดการ
นวัตกรรมการออกแบบและสร้างสรรค์สื่อ
การปกครอง
การปกครองท้องถิ่น
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
นโยบายสาธารณะ
ทัศนศิลป์
ศิลปะประยุกต์
ศิลปะการแสดงและการจัดการ(เรียนที่ตรัง)

3. วิทยาเขตภูเก็ต
การจัดการ การท่องเที่ยว (หลักสูตรนานาชาติ)
การจัดการ การบริการ (หลักสูตรนานาชาติ)
ภูมิสารสนเทศสิ่งแวดล้อม
เทคโนโลยีและการจัดการสิ่งแวดล้อม
วิศวกรรมซอร์ฟแวร์
เทคโนโลยี สารสนเทศ
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
วิเทศธุรกิจ - จีน (หลักสูตรนานาชาติ)
จีนศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ)
ไทยศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ)
วิเทศธุรกิจ - เกาหลี (หลักสูตรนานาชาติ)
เกาหลีศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ)

วิศวกรรมคอมพิวเตอร์
4. วิทยาเขตสุราษฏร์ธานี
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
เทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม
เทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรมยางพารา
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีอาหาร
เคมีเพื่ออุตสาหกรรม
การจัดการงานวิศวกรรม
เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ
ธุรกิจเทคโนโลยีสารสนเทศ
พัฒนาธุรกิจ
การจัดการธุรกิจการท่องเที่ยวและโลจิสติกส์เพื่อการท่องเที่ยว
ภาษาเพื่อการสื่อสารและธุรกิจ
การจัดการรัฐกิจและวิสาหกิจ

5. วิทยาเขตตรัง

การประกันภัยและการจัดการความเสี่ยง
การตลาด
การบัญชี
การจัดการสารสนเทศ และคอมพิวเตอร์
ระบบสารสนเทศทางการบัญชี
การจัดการพาณิชย์อิเล็คทรอนิกส์
การจัดการ การท่องเที่ยว
การจัดการรัฐกิจและวิสาหกิจ
ภาษาอังกฤษธุรกิจ
ศิลปะการแสดงและการจัดการ(เรียนที่ตรัง)
การบัญชี
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ 
สาขาวิชาสาขาสถาปัตยกรรม

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น