จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
แสดงจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ถือกำเนิดจากโรงเรียนสำหรับฝึกหัดวิชาข้าราชการฝ่ายพลเรือน โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งขึ้น ณ ตึกยาวข้างประตูพิมานชัยศรีในพระบรมมหาราชวังเมื่อ พ.ศ.2442 [ประเทศไทยเปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่ตามปฏิทินสากลในปี พ.ศ. 2483 (ค.ศ. 1940) ดังนั้น พ.ศ. กับ ค.ศ.ก่อนหน้านี้จึงเหลื่อมกันอยู่ 1 ปี] และได้รับพระบรมราชานุญาตให้เปลี่ยนชื่อเป็นโรงเรียนมหาดเล็ก เมื่อ 1 เมษายน พ.ศ.2445 ทั้งนี้เพื่อผลิตบุคลากรให้รับราชการซึ่งมีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว อันเป็นผลจากพระบรมราโชบายปฏิรูประบบบริหารราชการแผ่นดินเมื่อ พ.ศ.2425 ต่อ มาทั้งภาคราชการและเอกชนต้องการบุคลากรทำงานในสาขาวิชาต่างๆ กว้างขวางมากขึ้น พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระอนุสรณ์คำนึงถึงพระบรมราโช บายในสมเด็จพระบรมชนกาธิราชที่จะ"ให้มีมหาวิทยาลัยขึ้นสำหรับเป็นสถาบันอุดม ศึกษาของชาวสยาม"พอที่จะช่วยให้กิจการปกครองท้องที่ของกระทรวงมหาดไทยดำเนิน ไปได้ดีในระดับหนึ่งแล้วสมควรขยายการจัดการศึกษาเพื่อสนองความต้องการของ กระทรวง ทบวง กรมอื่น ๆ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้สถาปนาโรงเรียนมหาดเล็กเป็นสถาบันอุดมศึกษา พระราชทานนามว่า"โรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว" เมื่อ 1 มกราคม 2459
สัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัย
พระเกี้ยว
สัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัย
พระเกี้ยว เป็นศิราภรณ์ประดับพระเกศาหรือพระเศียรของพระราชโอรสและพระราชธิดาของพระมหา กษัตริย์ คำว่า เกี้ยว ถ้าเป็นคำนาม แปลว่า เครื่องประดับศรีษะหรือเครื่องสวมจุก ถ้าเป็นคำกิริยา แปลว่า ผูกรัดหรือพัน พระเกี้ยวเป็นสัญลักษณ์ที่ชาวจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยภูมิใจ ทั้งนี้ สืบเนื่องจากชื่อของมหาวิทยาลัยได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎ เกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเป็นพระบรมราชานุสาวรีย์ในสมเด็จพระปิยมหาราชซึ่่งได้พระราชทานกำเนิด มหาวิทยาลัยนี้
จามจุรี
ต้นจามจุรี
เป็นต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย ถือเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของจุฬาฯ มีความผูกพันกับชาวจุฬาฯ มาตั้งแต่เริ่มก่อตั้งเป็นมหาวิทยาลัย ในวันที่ 15 มกราคม 2505 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้เสด็จพระราชดำเนินไปยังจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พร้อมพระราชทานต้นจามจุรีแก่มหาวิทยาลัย จำนวน 5 ต้น
คณะ
คณะครุศาสตร์(Faculty of Education)ประกอบด้วย 6 ภาควิชา ได้แก่
1. หลักสูตรและการสอน (Curriculum and Instruction)
2. เทคโนโลยีและการสื่อสารการศึกษา (Educational Communication and Technology)
3. ศิลปะ ดนตรี และนาฏศิลป์ศึกษา (Art, Music and Dance Education)
4. นโยบาย การจัดการและความเป็นผู้นำทางการศึกษา (Educational Policy, Management, and Leadership)
5. การศึกษาตลอดชีวิต(Lifelong Education)
6. วิจัยและจิตวิทยาการศึกษา(Educational Research and Psychology)
คณะจิตวิทยา(Faculty of Psychology)
คณะทันตแพทยศาสตร์(Faculty of Dentistry)ประกอบด้วย 16 ภาควิชา ได้แก่
1. กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy)
2. จุลชีววิทยา (Microbiology)
3. ชีวเคมี (Biochemistry)
4. ทันตกรรมจัดฟัน (Orthodontics)
5. ทันตกรรมชุมชน (Community Dentistry)
6. ทันตกรรมบดเคี้ยว (Occlusion)
7. ทันตกรรมประดิษฐ์( Prosthodontics)
8. ทันตกรรมสำหรับเด็ก (Pediatric Dentistry)
9. ทันตกรรมหัตถการ (Operative Dentistry)
10. ทันตพยาธิวิทยา (Oral Pathology)
11. ปริทันตวิทยา (Periodontology)
12. เภสัชวิทยา (Pharmacology)
13. รังสีวิทยา (Radiology)
14. เวชศาสตร์ช่องปาก(Oral Medicine)
15. ศัลยศาสตร์ (Oral and Maxillofacial Surgery)
16. สรีรวิทยา (Physiology)
คณะนิติศาสตร์(Faculty of Law)
คณะนิเทศศาสตร์(Faculty of Communication Arts)ประกอบด้วย 5 ภาควิชา
1. การประชาสัมพันธ์ (Public Relations)
2. การสื่อสารมวลชน (Mass Communication)
3. วารสารสนเทศ (Journalism)
4. วาทวิทยาและสื่อสารการแสดง (Speech Communication and Performing Arts)
5. การภาพยนตร์และภาพนิ่ง (Motion Pictures and Still Photography)
คณะพยาบาลศาสตร์(Faculty of Nursing)
คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี(Faculty of Commerce and Accountancy) ประกอบด้วย 5 ภาควิชา
1. การบัญชี (Accounting)
2. พาณิชยศาสตร์ (Commerce)
3. การธนาคารและการเงิน (Banking and Finance)
4. การตลาด (Marketing)
5. สถิติ (Statistics)
คณะแพทยศาสตร์(Faculty of Medicine) ประกอบด้วย 21 ภาควิชา
1. กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy)
2. จิตเวชศาสตร์ (Psychiatry)
3. จุลชีววิทยา (Microbiology)
4. นิติเวชศาสตร์ (Forensic Medicine)
5. ปรสิตวิทยา (Parasitology)
6. พยาธิวิทยา (Pathology)
7. เวชศาสตร์ป้องกันและสังคม (Preventive and Social Medicine)
8. สรีรวิทยา (Physiology)
9. กุมารเวชศาสตร์ (Pediatrics)
10. จักษุวิทยา (Ophthalmology)
11. ชีวเคมี (Biochemistry)
12. เภสัชวิทยา (Pharmacology)
13. รังสีวิทยา (Radiology)
14. วิสัญญีวิทยา (Anesthesiology)
15. เวชศาสตร์ชันสูตร(Laboratory Medicine)
16. ศัลยศาสตร์ (Surgery)
17. ออร์โธปิดิกส์ Orthopedics)
18. เวชศาสตร์ฟื้นฟู (Rehabilitation Medicine)
19. สูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา (Obstetrics and Gynecology)
20. โสต ศอ นาสิกวิทยา (Otolaryngology)
21. อายุรศาสตร์ (Medicine)
คณะเภสัชศาสตร์(Faculty of Pharmaceutical Sciences) ประกอบด้วย 7 ภาควิชา
1. วิทยาการเภสัชกรรมและเภสัชอุตสาหกรรม (Pharmaceutics and Industrial Pharmacy)
2. เภสัชกรรมปฏิบัติ (Pharmacy Practice)
3. อาหารและเภสัชเคมี (Food and Pharmaceutical chemistry)
4. เภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ (Pharmacognosy and Pharmaceutical Botany)
5. เภสัชวิทยาและสรีรวิทยา (Pharmacology and Physislogy)
6. ชีวเคมีและจุลชีววิทยา (Biochemistry and Microbiology)
7. เภสัชศาสตร์สังคมและบริหาร(Social and Administrative Pharmacy)
คณะรัฐศาสตร์(Faculty of Political Science) ประกอบด้วย 4 ภาควิชา ได้แก่
1. การปกครอง (Government)
2. ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (International Relations)
3. รัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration)
4. สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (Sociology and Anthropology)
คณะครุศาสตร์(Faculty of Education)ประกอบด้วย 6 ภาควิชา ได้แก่
1. หลักสูตรและการสอน (Curriculum and Instruction)
2. เทคโนโลยีและการสื่อสารการศึกษา (Educational Communication and Technology)
3. ศิลปะ ดนตรี และนาฏศิลป์ศึกษา (Art, Music and Dance Education)
4. นโยบาย การจัดการและความเป็นผู้นำทางการศึกษา (Educational Policy, Management, and Leadership)
5. การศึกษาตลอดชีวิต(Lifelong Education)
6. วิจัยและจิตวิทยาการศึกษา(Educational Research and Psychology)
คณะจิตวิทยา(Faculty of Psychology)
คณะทันตแพทยศาสตร์(Faculty of Dentistry)ประกอบด้วย 16 ภาควิชา ได้แก่
1. กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy)
2. จุลชีววิทยา (Microbiology)
3. ชีวเคมี (Biochemistry)
4. ทันตกรรมจัดฟัน (Orthodontics)
5. ทันตกรรมชุมชน (Community Dentistry)
6. ทันตกรรมบดเคี้ยว (Occlusion)
7. ทันตกรรมประดิษฐ์( Prosthodontics)
8. ทันตกรรมสำหรับเด็ก (Pediatric Dentistry)
9. ทันตกรรมหัตถการ (Operative Dentistry)
10. ทันตพยาธิวิทยา (Oral Pathology)
11. ปริทันตวิทยา (Periodontology)
12. เภสัชวิทยา (Pharmacology)
13. รังสีวิทยา (Radiology)
14. เวชศาสตร์ช่องปาก(Oral Medicine)
15. ศัลยศาสตร์ (Oral and Maxillofacial Surgery)
16. สรีรวิทยา (Physiology)
คณะนิติศาสตร์(Faculty of Law)
คณะนิเทศศาสตร์(Faculty of Communication Arts)ประกอบด้วย 5 ภาควิชา
1. การประชาสัมพันธ์ (Public Relations)
2. การสื่อสารมวลชน (Mass Communication)
3. วารสารสนเทศ (Journalism)
4. วาทวิทยาและสื่อสารการแสดง (Speech Communication and Performing Arts)
5. การภาพยนตร์และภาพนิ่ง (Motion Pictures and Still Photography)
คณะพยาบาลศาสตร์(Faculty of Nursing)
คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี(Faculty of Commerce and Accountancy) ประกอบด้วย 5 ภาควิชา
1. การบัญชี (Accounting)
2. พาณิชยศาสตร์ (Commerce)
3. การธนาคารและการเงิน (Banking and Finance)
4. การตลาด (Marketing)
5. สถิติ (Statistics)
คณะแพทยศาสตร์(Faculty of Medicine) ประกอบด้วย 21 ภาควิชา
1. กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy)
2. จิตเวชศาสตร์ (Psychiatry)
3. จุลชีววิทยา (Microbiology)
4. นิติเวชศาสตร์ (Forensic Medicine)
5. ปรสิตวิทยา (Parasitology)
6. พยาธิวิทยา (Pathology)
7. เวชศาสตร์ป้องกันและสังคม (Preventive and Social Medicine)
8. สรีรวิทยา (Physiology)
9. กุมารเวชศาสตร์ (Pediatrics)
10. จักษุวิทยา (Ophthalmology)
11. ชีวเคมี (Biochemistry)
12. เภสัชวิทยา (Pharmacology)
13. รังสีวิทยา (Radiology)
14. วิสัญญีวิทยา (Anesthesiology)
15. เวชศาสตร์ชันสูตร(Laboratory Medicine)
16. ศัลยศาสตร์ (Surgery)
17. ออร์โธปิดิกส์ Orthopedics)
18. เวชศาสตร์ฟื้นฟู (Rehabilitation Medicine)
19. สูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา (Obstetrics and Gynecology)
20. โสต ศอ นาสิกวิทยา (Otolaryngology)
21. อายุรศาสตร์ (Medicine)
คณะเภสัชศาสตร์(Faculty of Pharmaceutical Sciences) ประกอบด้วย 7 ภาควิชา
1. วิทยาการเภสัชกรรมและเภสัชอุตสาหกรรม (Pharmaceutics and Industrial Pharmacy)
2. เภสัชกรรมปฏิบัติ (Pharmacy Practice)
3. อาหารและเภสัชเคมี (Food and Pharmaceutical chemistry)
4. เภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ (Pharmacognosy and Pharmaceutical Botany)
5. เภสัชวิทยาและสรีรวิทยา (Pharmacology and Physislogy)
6. ชีวเคมีและจุลชีววิทยา (Biochemistry and Microbiology)
7. เภสัชศาสตร์สังคมและบริหาร(Social and Administrative Pharmacy)
คณะรัฐศาสตร์(Faculty of Political Science) ประกอบด้วย 4 ภาควิชา ได้แก่
1. การปกครอง (Government)
2. ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (International Relations)
3. รัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration)
4. สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (Sociology and Anthropology)
คณะวิทยาศาสตร์ (Faculty of Science)ประกอบด้วย 14 ภาควิชา ได้แก่
1. คณิตศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ (Mathematics and Computer Science)
2. เคมี (Chemistry)
3. ชีววิทยา (Biology)
4. ฟิสิกส์ (Physics)
5. พฤกษศาสตร์ (Botany)
6. เคมีเทคนิค (Chemical Technology)
7. ธรณีวิทยา (Geology)
8. วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (Enviromental Science)
9. วิทยาศาสตร์ทางทะเล (Marine Science)
10. ชีวเคมี (Biochemistry)
11. วัสดุศาสตร์ (Material Science)
12. จุลชีววิทยา (Microbiology)
13. วิทยาศาสตร์ทางภาพถ่ายและ เทคโนโลยีทางการพิมพ์ (Photographic Science and Printing Technology)
14. เทคโนโลยีทางอาหาร (Food Technology)
คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา(Faculty of Sports Science)
คณะวิศวกรรมศาสตร์(Faculty of Engineering) ประกอบด้วย 12 ภาควิชา ได้แก่
1. วิศวกรรมเคมี Chemical Engineering)
2. วิศวกรรมเครื่องกล (Mechanical Engineering)
3. วิศวกรรมไฟฟ้า (Electrical Engineering)
4. วิศวกรรมโยธา(Civil Engineering)
5. วิศวกรรมแหล่งน้ำ (Water Resources Engineering)
6. วิศวกรรมโลหการ (Metallurgical Engineering)
7. วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (Environmental Engineering)
8. วิศวกรรมสำรวจ (Survey Engineering)
9. วิศวกรรมเหมืองแร่และปิโตรเลียม (Mining and Petroleum Engineering)
10. วิศวกรรมอุตสาหการ(Industrial Engineering)
11. วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Engineering)
12. วิศวกรรมนิวเคลียร์ (Nuclear Engineering)
1. คณิตศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ (Mathematics and Computer Science)
2. เคมี (Chemistry)
3. ชีววิทยา (Biology)
4. ฟิสิกส์ (Physics)
5. พฤกษศาสตร์ (Botany)
6. เคมีเทคนิค (Chemical Technology)
7. ธรณีวิทยา (Geology)
8. วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (Enviromental Science)
9. วิทยาศาสตร์ทางทะเล (Marine Science)
10. ชีวเคมี (Biochemistry)
11. วัสดุศาสตร์ (Material Science)
12. จุลชีววิทยา (Microbiology)
13. วิทยาศาสตร์ทางภาพถ่ายและ เทคโนโลยีทางการพิมพ์ (Photographic Science and Printing Technology)
14. เทคโนโลยีทางอาหาร (Food Technology)
คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา(Faculty of Sports Science)
คณะวิศวกรรมศาสตร์(Faculty of Engineering) ประกอบด้วย 12 ภาควิชา ได้แก่
1. วิศวกรรมเคมี Chemical Engineering)
2. วิศวกรรมเครื่องกล (Mechanical Engineering)
3. วิศวกรรมไฟฟ้า (Electrical Engineering)
4. วิศวกรรมโยธา(Civil Engineering)
5. วิศวกรรมแหล่งน้ำ (Water Resources Engineering)
6. วิศวกรรมโลหการ (Metallurgical Engineering)
7. วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (Environmental Engineering)
8. วิศวกรรมสำรวจ (Survey Engineering)
9. วิศวกรรมเหมืองแร่และปิโตรเลียม (Mining and Petroleum Engineering)
10. วิศวกรรมอุตสาหการ(Industrial Engineering)
11. วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Engineering)
12. วิศวกรรมนิวเคลียร์ (Nuclear Engineering)
คณะศิลปกรรมศาสตร์(Faculty of Fine and Applied Arts)ประกอบด้วย 4 ภาควิชา
1. ดุริยางคศิลป์ (Music)
2. ทัศนศิลป์ (Visual Arts)
3. นาฏยศิลป์ (Dance)
4. นฤมิตศิลป์ (Creative Arts)
คณะเศรษฐศาสตร์(Faculty of Economics)
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์(Faculty of Architecture)ประกอบด้วย 6 ภาควิชา ได้แก่
1. สถาปัตยกรรมศาสตร์ (Architecture)
2. สถาปัตยกรรมภายใน (Interior Architecture)
3. การวางแผนภาคและเมือง (Urban and Regional Planning)
4. การออกแบบอุตสาหกรรม (Industrial Design)
5. ภูมิสถาปัตยกรรม (Landscape Architecture)
6. เคหการ (Housing)
คณะสหเวชศาสตร์(Faculty of Allied Health Sciences)ประกอบด้วย 5 ภาควิชา ได้แก่
1. กายภาพบำบัด (Physical Therapy)
2. เคมีคลินิก (Clinical Chemistry)
3. จุลทรรศน์ศาสตร์คลินิก (Clinical Microscopy)
4. เวชศาสตร์การธนาคารเลือดและจุลชีววิทยาคลินิก (Transfusion Medicine and Clinical Microbiology)
5. โภชนาการและการกำหนดอาหาร (Nutrition and Dietetics)
คณะสัตวแพทยศาสตร์(Faculty of Veterinary Science)ประกอบด้วย 10 ภาควิชา ได้แก่
1. กายวิภาคศาสตร์ (Veterinary Anatomy)
2. พยาธิวิทยา (Veterinary Pathology)
3. เภสัชวิทยา (Veterinary Pharmacology)
4. ศัลยศาสตร์ (Veterinary Surgery)
5. สรีรวิทยา (Veterinary Physiology)
6. สัตวบาล (Animal Husbandry)
7. สูติศาสตร์ – เธนุเวชวิทยาและวิทยาการสืบพันธุ์ (Obstetrics Gynaecology and Reproduction)
8. อายุรศาสตร์ (Veterinary Medicine)
9. สัตวแพทยสาธารณสุข (Veterinary Public Health)
10. จุลชีววิทยา (Microbiology)
1. ดุริยางคศิลป์ (Music)
2. ทัศนศิลป์ (Visual Arts)
3. นาฏยศิลป์ (Dance)
4. นฤมิตศิลป์ (Creative Arts)
คณะเศรษฐศาสตร์(Faculty of Economics)
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์(Faculty of Architecture)ประกอบด้วย 6 ภาควิชา ได้แก่
1. สถาปัตยกรรมศาสตร์ (Architecture)
2. สถาปัตยกรรมภายใน (Interior Architecture)
3. การวางแผนภาคและเมือง (Urban and Regional Planning)
4. การออกแบบอุตสาหกรรม (Industrial Design)
5. ภูมิสถาปัตยกรรม (Landscape Architecture)
6. เคหการ (Housing)
คณะสหเวชศาสตร์(Faculty of Allied Health Sciences)ประกอบด้วย 5 ภาควิชา ได้แก่
1. กายภาพบำบัด (Physical Therapy)
2. เคมีคลินิก (Clinical Chemistry)
3. จุลทรรศน์ศาสตร์คลินิก (Clinical Microscopy)
4. เวชศาสตร์การธนาคารเลือดและจุลชีววิทยาคลินิก (Transfusion Medicine and Clinical Microbiology)
5. โภชนาการและการกำหนดอาหาร (Nutrition and Dietetics)
คณะสัตวแพทยศาสตร์(Faculty of Veterinary Science)ประกอบด้วย 10 ภาควิชา ได้แก่
1. กายวิภาคศาสตร์ (Veterinary Anatomy)
2. พยาธิวิทยา (Veterinary Pathology)
3. เภสัชวิทยา (Veterinary Pharmacology)
4. ศัลยศาสตร์ (Veterinary Surgery)
5. สรีรวิทยา (Veterinary Physiology)
6. สัตวบาล (Animal Husbandry)
7. สูติศาสตร์ – เธนุเวชวิทยาและวิทยาการสืบพันธุ์ (Obstetrics Gynaecology and Reproduction)
8. อายุรศาสตร์ (Veterinary Medicine)
9. สัตวแพทยสาธารณสุข (Veterinary Public Health)
10. จุลชีววิทยา (Microbiology)
คณะอักษรศาสตร์(Faculty of Arts)ประกอบด้วย 11 ภาควิชา ได้แก่
1. บรรณารักษศาสตร์ (Library Science)
2. ประวัติศาสตร์ (History)
3. ปรัชญา (Philosophy)
4. ภาษาตะวันตก (Western Languages)
5. ภาษาตะวันออก(Eastern Languages)
6. ภาษาไทย (Thai)
7. ภาษาศาสตร์ (Linguistics)
8. ภาษาอังกฤษ (English)
9. ภูมิศาสตร์ (Geography)
10. ศิลปการละคร (Dramatic Arts)
11. วรรณคดีเปรียบเทียบ (Comparative Literature)
1. บรรณารักษศาสตร์ (Library Science)
2. ประวัติศาสตร์ (History)
3. ปรัชญา (Philosophy)
4. ภาษาตะวันตก (Western Languages)
5. ภาษาตะวันออก(Eastern Languages)
6. ภาษาไทย (Thai)
7. ภาษาศาสตร์ (Linguistics)
8. ภาษาอังกฤษ (English)
9. ภูมิศาสตร์ (Geography)
10. ศิลปการละคร (Dramatic Arts)
11. วรรณคดีเปรียบเทียบ (Comparative Literature)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น