มหิดล

มหิดล


มหาวิทยาลัยมหิดล

ประวัติความเป็นมาของมหาวิทยาลัยมหิดล
         มหาวิทยาลัยมหิดล
 เป็นสถาบันที่มีที่มาจากการเป็นโรงเรียนแพทย์ ณ โรงพยาบาลศิริราช ชื่อว่า "โรงเรียนแพทยากร" ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2432 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หลังจากนั้นในวันที่ กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486 จึงได้รับการสถาปนาขึ้นเป็น มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ และเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนาม "มหิดล" อันเป็นพระนามของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ใช้แทนชื่อมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์เป็น มหาวิทยาลัยมหิดล
ในปี พ.ศ. 2557 QS Asia University Ranking ได้จัดอันดับมหาวิทยาลัยมหิดล โดยมีคะแนนเป็นอันดับ ของประเทศไทย และเป็นอันดับที่ 40 ในเอเชีย ซึ่งเป็นปีที่ ที่ได้อันดับ ติดต่อกัน นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยมหิดลยังได้รับการจัดอันดับเป็นมหาวิทยาลัยที่จัดการเรียนการสอนทางด้านแพทยศาสตร์อันดับที่ 62 ของโลกในปี พ.ศ. 2558 อีกด้วย
ปัจจุบันมหาวิทยาลัยมหิดลจัดการเรียนการสอนใน 17 คณะ วิทยาลัย และสถาบันต่าง ๆ รวมทั้งหมด 551 หลักสูตร โดยแบ่งออกเป็น ส่วนใน พื้นที่คือ มหาวิทยาลัยมหิดล กรุงเทพมหานคร (ประกอบด้วยพื้นที่บางกอกน้อย พญาไท และวิทยาลัยการจัดการ)มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายามหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจบุรีมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตนครสวรรค์ และ มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตอำนาจเจริญ



สัญลักษณ์มหาวิทยาลัย



สัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัย

ตรามหาวิทยาลัย ได้แก่ พระมหาพิชัยมงกุฎ ภายใต้มีจักรกับตรีศูล และอักษร ออกแบบ
โดยหม่อมราชวงศ์มิตรารุณ เกษมศรี สถาปนิกพิเศษประจำสำนักพระราชวัง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานแก่มหาวิทยาลัยมหิดล ตามจดหมายสำนักราชเลขาธิการ ลงวันที่29 กรกฎาคม พ.ศ. 2512 พระมหาพิชัยมงกุฎ คือ ศิราภรณ์ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์สำคัญ แสดงว่า ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ อักษร "ม" มาจากคำว่า "มหิดล"
ต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย

ต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย
          ต้นกันภัยมหิดลเป็นต้นไม้ที่สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ประทานพระราชวินิจฉัยชี้ขาดให้ "ต้นกันภัยมหิดล" เป็นต้นไม้สัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2542
คณะทันตแพทยศาสตร์
ภาควิชากายวิภาคศาสตร์
ภาควิชาจุลชีววิทยาช่องปาก
ภาควิชาชีววิทยาช่องปาก
ภาควิชาทันตกรรมจัดฟัน
ภาควิชาทันตกรรมชุมชน
ภาควิชาทันตกรรมเด็ก
ภาควิชาทันตกรรมทั่วไปขั้นสูง
ภาควิชาทันตกรรมประดิษฐ์
ภาควิชาทันตกรรมหัตถการและวิทยาเอ็นโดดอนต์
ภาควิชาพยาธิวิทยาช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล
ภาควิชาเภสัชวิทยา
ภาควิชารังสีวิทยาช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล
ภาควิชาวิทยาระบบบดเคี้ยว
ภาควิชาเวชศาสตร์ช่องปากและปริทันตวิทยา
ภาควิชาศัลยศาสตร์ช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล
คณะวิศวกรรมศาสตร์
วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
          1. สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
          2. สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
          3. สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล
          4. สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์
          5. สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี
          6. สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
          7. สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
          1. สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา (หลักสูตรนานาชาติ)
          2. สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
          3. สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล
          4. สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ (หลักสูตรนานาชาติ)
          5. สาขาวิชาวิศวกรรมเคมีบูรณาการ (หลักสูตรนานาชาติ)
          6. สาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรน้ำ (หลักสูตรนานาชาติ)
          7. วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรมการจัดการองค์กร (หลักสูตรภาคพิเศษ)
          8. วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
          9. วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
          10. วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต หลักสูตรนานาชาติ
          1. สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
หลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
          1. สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการระบบสารสนเทศ
วิศวกรรมศาสตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
1. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และวิศวกรรม (หลักสูตรนานาชาติ)
2. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์
3. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมและการจัดการน้ำ (หลักสูตรนานาชาติ)
คณะเทคนิคการแพทย์
ภาควิชาเคมีคลินิก
ภาควิชาจุลชีววิทยาคลินิกและเทคโนโลยีประยุกต์
ภาควิชาจุลทรรศนศาสตร์คลินิก
ภาควิชาเทคนิกการแพทย์ชุมชน
ภาควิชารังสีเทคนิก
สถานเวชศาสตร์ชันสูตร
คณะเวชศาสตร์เขตร้อน                     
ภาควิชาอายุรศาสตร์เขตร้อน
ภาควิชาปรสิตหนอนพยาธิ
ภาควิชากีฏวิทยาการแพทย์        
ภาควิชาจุลชีววิทยาและอิมมิวโนโลยี
ภาควิชาพยาธิโปรโตซัว             
ภาควิชาเวชศาสตร์สังคมและสิ่งแวดล้อม
ภาควิชาสุขวิทยาเขตร้อน           
ภาควิชาโภชนศาสตร์เขตร้อนและวิทยาศาสตร์อาหาร
ภาควิชาพยาธิวิทยาเขตร้อน        
ภาควิชากุมารเวชศาสตร์เขตร้อน
ภาควิชาชีวโมเลกุลและพันธุศาสตร์โรคเขตร้อน
คณะพยาบาลศาสตร์
ภาควิชาการพยาบาลรากฐาน
ภาควิชาพยาบาลกุมารเวชศาสตร์
ภาควิชาสุขภาพจิตและพยาบาลจิตเวชศาสตร์
ภาควิชาพยาบาลศัลยศาสตร์
ภาควิชาพยาบาลสาธารณสุขศาสตร์
ภาควิชาการพยาบาลสูติศาสตร์ นรีเวชวิทยา
ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์
คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
ภาควิชาสังคมศาสตร์
ภาควิชาศึกษาศาสตร์
ภาควิชามนุษยศาสตร์
ภาควิชาสังคมและสุขภาพ
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
ภาควิชากุมารเวชศาสตร์
ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา
ภาควิชาจักษุวิทยา
ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา
ภาควิชาจิตเวชศาสตร์
ภาควิชาออร์โธปิดิกส์
ภาควิชาอายุรศาสตร์
ภาควิชาพยาธิวิทยา
ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน
ภาควิชารังสีวิทยา
ภาควิชาวิสัญญีวิทยา
ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน
ภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว
ภาควิชาศัลยศาสตร์
ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู
คณะสัตวแพทยศาสตร์
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
1.  กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy)
2.  จิตเวชศาสตร์ (Psychiatry)
3.  จุลชีววิทยา  (Microbiology)
4.  นิติเวชศาสตร์ (Forensic Medicine)
5.  ปรสิตวิทยา (Parasitology)
6.  พยาธิวิทยา  (Pathology)
7.  เวชศาสตร์ป้องกันและสังคม  (Preventive and Social  Medicine)
8.  สรีรวิทยา (Physiology)
9.  กุมารเวชศาสตร์ (Pediatrics)
10.  จักษุวิทยา  (Ophthalmology)
11.  ชีวเคมี (Biochemistry)
12.  เภสัชวิทยา (Pharmacology)
13.  รังสีวิทยา (Radiology)
14.  วิสัญญีวิทยา (Anesthesiology)
15.  เวชศาสตร์ฉุกเฉิน
16.  ศัลยศาสตร์ (Surgery)
17.  ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ (Surgery Orthopedics)
18.  เวชศาสตร์ฟื้นฟู (Rehabilitation Medicine)
19.  สูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา (Obstetrics and Gynecology)
20.  โสต นาสิกวิทยา (Otolaryngology)
21.  อายุรศาสตร์ (Medicine)
22. ตจวิทยา23. พยาธิวิทยาคลินิก (Pathology clinic)
24. วิทยาภูมิคุ้มกัน
25.เวชศาสตร์การธนาคารเลือด
คณะสาธารณสุขศาสตร์
ภาควิชาการพยาบาลสาธารณสุข
ภาควิชาจุลชีววิทยา
ภาควิชาชีวสถิติ
ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข
ภาควิชาปรสิตวิทยาและกีฏวิทยา
ภาควิชาโภชนวิทยา
ภาควิชาระบาดวิทยา
ภาควิชาวิทยาศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อม
ภาควิชาวิศวกรรมสุขาภิบาล
ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
ภาควิชาอนามัยชุมชน
ภาควิชาอนามัยครอบครัว
ภาควิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
คณะเภสัชศาสตร์
1.สาขาเภสัชอุตสาหการ2.สาขาด้านบริบาลทางเภสัชกรรม
คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม (ES)
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (International Program) (EV)
คณะวิทยาศาสตร์
1.กายวิภาคศาสตร์2.คณิตศาสตร์
3.เคมี
4.จุลชีววิทยา
5.ชีวเคมี
6.ชีววิทยา
7.เทคโนโลยีชีวภาพ
8.พฤกษศาสตร์
9.พยาธิชีววิทยา
10.ฟิสิกส์
11.เภสัชวิทยา
12.สรีรวิทยา
คณะศิลปศาสตร์
1.สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
2.สาขาวิชาภาษาไทย
คณะกายภาพบำบัด
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
1.สาขาวิชากายภาพบำบัด
2.สาขาวิชากิจกรรมบำบัด
หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา
1.ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชากายภาพบำบัด(หลักสูตรนานาชาติ)
2.วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชากายภาพบำบัด
3.ประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชากายภาพบำบัดคลินิก
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
          สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (นานาชาติ)
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (นานาชาติ - ภาคพิเศษ)
สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (MU-UCL)
สาขาวิชาเทคโนโลยีเกมและเกมมิฟิเคชัน
สาขาวิชาความมั่นคงไซเบอร์และการประกันสารสนเทศ
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
  สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (นานาชาติ)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น