มหาวิทยาศรีนครินทร์วิโรฒ
มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ
ประวัติ
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
แรกเริ่มได้จัดตั้งเป็น โรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูง สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งเป็นการผลักดันของ ศาสตราจารย์ ม.ล.ปิ่น มาลากุล ปลัดกระทรวงศึกษาธิการในขณะนั้น โดยจัดตั้งเมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ.
2492 เพื่อผลิตวิชาชีพครูซึ่งกำลังประสบปัญหาขาดแคลนเป็นจำนวนมากในขณะนั้น
นับว่าเป็นการเริ่มต้นการศึกษาในระดับวุฒิประกาศนียบัตรครูประถมศึกษา
และประกาศนียบัตรครูมัธยมศึกษา มีผู้อำนวยการโรงเรียนคนแรกคือ หลวงสวัสดิสารศาสตรพุทธิ(สวัสดิ์
สุมิตร)
ในกาลต่อมา พ.ศ.
2496 ศาสตราจารย์ ดร.สาโรช บัวศรี ผู้อำนวยการโรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูงในขณะนั้น ได้เสนอต่อกระทรวงศึกษาธิการให้ก่อตั้งวิทยาลัยวิชาการศึกษา เพื่อพัฒนาความรู้ทางด้านการศึกษาให้เป็นวิชาชีพที่มีระบบแบบแผนมากขึ้น
พร้อมทั้งได้เปิดการเรียนการสอนครอบคลุมทั้งในระดับบัณฑิต มหาบัณฑิต
และดุษฎีบัณฑิต ในระยะนี้ได้มีการตั้งโรงเรียนสาธิต (Demonstration School)
เพื่อให้เป็นแปลงทดลองค้นคว้า ในระบบการศึกษาพื้นฐานสมัยใหม่
พร้อมกับมีการขยายวิทยาลัยวิชาการศึกษาไปยังส่วนภูมิภาคต่าง ๆ
โดยขยายวิทยาเขตปทุมวัน , วิทยาเขตบางแสน , วิทยาเขตพิษณุโลก , วิทยาเขตมหาสารคาม , วิทยาเขตสงขลา , วิทยาเขตพระนคร และวิทยาเขตพลศึกษา โดยมีวิทยาเขตประสานมิตรเป็นศูนย์กลางการบริหาร
ในปี พ.ศ.
2516 ก่อนหน้า เหตุการณ์ 14
ตุลา ในช่วงเวลาที่ ศาสตราจารย์ ดร.สุดใจ เหล่าสุนทร ดำรงตำแหน่งอธิการวิทยาลัยวิชาการศึกษา คณาจารย์ นิสิต และข้าราชการ
ได้ร่วมกันเรียกร้องต่อรัฐบาลให้ปรับฐานะวิทยาลัยวิชาการศึกษาเป็นมหาวิทยาลัย
และย้ายสังกัดจากกระทรวงศึกษาธิการไปขึ้นกับทบวงมหาวิทยาลัย
ท่ามกลางการปกครองที่เข้มงวดรุนแรงของรัฐบาลทหารในขณะนั้น
เพื่อความคล่องตัวในการพัฒนาโครงสร้าง การบริหาร และการเรียนการสอนที่จำกัด
ไปสู่การเป็นมหาวิทยาลัยและการขยายตัวที่มีความหลากหลายวิชาชีพ ท้ายที่สุดมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
“มหาวิทยาลัยที่เจริญเป็นศรีสง่าแก่มหานคร” ได้สถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ.
2517 โดยมี ศาสตราจารย์ ดร.สุดใจ เหล่าสุนทร เป็นอธิการบดี โดยนามของมหาวิทยาลัย ได้รับพระราชทานนามจาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้า
ฯ เมื่อ 6 มีนาคม พ.ศ.
2517 โดยพระราชทานเพียงชื่อเต็มและความหมายของชื่อดังกล่าว
ตราสัญลักษณ์
|
ได้มาจากกราฟที่เขียนแทนสมการทางคณิตศาสตร์ Y
= ex หมายถึง การเพิ่มหรือการงอกงาม
ซึ่งตรงกับปรัชญาของมหาวิทยาลัยที่ว่า การศึกษาคือความเจริญงอกงาม (สิกขา วิรุฬฺหิ สมฺปตฺตา)
|
ต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย
|
ต้นราชพฤกษ์
|
คณะ/วิทยาลัย
-
ภาควิชาวาริชศาสตร์
-
ภาควิชาจุลชีววิทยา
-
ภาควิชาประวัติศาสตร์
-
ภาควิชาภูมิศาสตร์
-
ภาควิชารัฐศาสตร์
-
ภาควิชาสังคมวิทยา
-
ภาควิชาพลศึกษา
-
ภาควิชาสันทนาการ
-
ภาควิชาการแนะแนวและจิตวิทยาการศึกษา
-
ภาควิชาพื้นฐานของการศึกษา
-
ภาควิชาหลักสูตรและการสอน
-
ภาควิชาการศึกษาพิเศษ
-
ภาควิชาการวัดผลและวิจัยการศึกษา
-
สาขาวิชาการมัธยมศึกษา
คณะกรรมการประจำสาขาวิชาการมัธยมศึกษา(บางเขน)
-
สาขาวิชาการประถมศึกษา
-
สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย
-
สาขาวิชาอุตสาหกรรมศึกษา
คณะกรรมการประจำสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ศึกษา
-
ภาควิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐานการพยาบาล
-
ภาควิชาการพยาบาลแม่และเด็ก
-
ภาควิชาการพยาบาลชุมชน
-
ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์และศัลยศาสตร์
-
ภาควิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช
-
สาขาวิชาการพยาบาลเด็ก
-
สาขาวิชาการพยาบาลอนามัย
-
สาขาวิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวชศาสตร์
-
ภาควิชาวิจัยประเมินผลและการบริหารทางการพยาบาล
-
สาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่
-
สาขาวิชาการพยาบาลมารดาทารกและการผดุงครรภ์
-
สาขาวิชาการบริหารการพยาบาล
-
สาขาวิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
สำนักเสริมศึกษาและสาธิตทางการพยาบาล
สำนักงานบริการวิชาการ
-
ภาควิชากายวิภาคศาสตร์
-
ภาควิชากุมารเวชศาสตร์
-
ภาควิชาจักษุ-โสต-ศอ-นาสิก-ลาริงซ์วิทยา
-
ภาควิชาจิตเวชศาสตร์
-
ภาควิชาจุลชีววิทยา
-
ภาควิชาชีวเคมี
-
ภาควิชานิติเวชศาสตร์
-
ภาควิชาพยาธิวิทยา
-
ภาควิชาเภสัชวิทยา
-
ภาควิชารังสีวิทยา
-
ภาควิชาวิสัญญีวิทยา
-
ภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม
-
ภาควิชาศัลยศาสตร์
-
ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา
-
ภาควิชาออร์โธพีดิกส์
-
ภาควิชาอายุรศาสตร์
-
ภาควิชาวิศวกรรมเคมี
-
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
-
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
-
ภาควิชาวิศวกรรมโยธา
-
ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
-
ภาควิชาดุริยางคศาสตร์ไทย
-
ภาควิชาดุริยางคศาสตร์สากล
-
ภาควิชาทัศนศิลป์
-
ภาควิชาทัศนศิลปศึกษา
-
ภาควิชาศิลปะการแสดง
-
ภาควิชาออกแบบทัศนศิลป์
-
สาขาวิชาการออกแบบทัศนศิลป์
-
สาขาวิชาการออกแบบสื่อสาร
-
สาขาวิชาดุริยางคศาสตร์ศึกษา
-
สาขาวิชาดุริยางคศาสตร์สากล
-
สาขาวิชานาฎศิลป์
-
สาขาศิลปะการแสดง
-
สาขาศิลปศึกษา
-
สาขาศิลปะจินตทัศน์
-
ศูนย์ศิลปวิทยบริการ
-
ภาควิชาทันตกรรมทั่วไป
-
ภาควิชาทันตกรรมสำหรับเด็กและทันตกรรมป้องกัน
-
ภาควิชาทันตกรรมอนุรักษ์และทันตกรรมประดิษฐ์
-
ภาควิชาศัลยศาสตร์และเวชศาสตร์
-
ภาควิชาโอษฐวิทยา
-
สาขาวิชากายภาพบำบัด
-
สาขาวิชาทัศนศาสตร์
-
สาขาวิชาแพทย์แผนตะวันออก
-
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศด้านสุขภาพ
-
สาขาวิชาการจัดการส่งเสริมสุขภาพ
-
สาขาการศึกษาอย่างยั่งยืน
วิทยาลัยนานาชาติเพื่อศึกษาความยั่งยืน
-
สาขาภูมิอัตลักษณ์ศึกษา
วิทยาลัยนานาชาติเพื่อศึกษาความยั่งยืน
ศูนย์ภาษา (สาขาภาษานานาชาติ)
วิทยาลัยนานาชาติเพื่อศึกษาความยั่งยืน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น